เพิ่มความเร็วเว็บไชต์ด้วย CloudFlare Worker

หลายๆคนที่ใช้ CloudFlare อยู่ก็คนจะได้ใช้หลายๆฟังชั่นของ CloudFlare แล้ว

แต่ก็ยังมีอีกหลายๆคนที่อาจจะยังไม่เคยใช้ CloudFlare Worker ชึ่งสามารถเอามาประยุคใช้งานได้หลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการ สั่งให้ทำอะไรบางอย่างก็ส่งข้อมูลจริงออกไป หรือแม้แต่เอามาทำ Cache ด้วย Worker (Server Cache) ด้วย Code ต่อไปนี้

  1. วิธีนี้เหมาะกับ Server ต่างประเทศที่โหลดช้ามากๆ
  2. เว็บไชต์ประเภท Static Page
  3. เว็บไชต์หรือ API ที่ไม่ได้เปลี่ยนแปลงบ่อยๆ
async function handleRequest(event) {
  const cache = caches.default;
  const cacheKey = new Request(event.request);
  let response = await cache.match(cacheKey);

  if (!response) {
    console.log("cache")
    // If response is not in cache, fetch it from the origin server
    response = await fetch(event.request);

    // Clone the response with its headers and metadata, but not the body
    response = new Response(response.body, response);

    // Cache the response for future requests with a specific max-age
    const cacheHeaders = new Headers(response.headers);
    cacheHeaders.append("Cache-Control", "max-age=3600"); // Cache the response for 1 hour (3600 seconds)

    response = new Response(response.body, {
      status: response.status,
      statusText: response.statusText,
      headers: cacheHeaders,
    });

    event.waitUntil(cache.put(cacheKey, response.clone()));
  }else{
    console.log("not cache")
  }

  return response;
}

addEventListener("fetch", (event) => {
  event.respondWith(handleRequest(event));
});

วิธีติดตั้งก็ง่ายๆเลยครับ ทำตามขั้นตอนต่อไปนี้ได้เลย

เป็นอันจบครับ

** วิธีนี้อาจจะเหมาะกับผู้ที่ใช้ Server ต่างประเทศที่มีระยะเวลาโหลดจาก Server ช้าก็เปลี่ยนมา Cache บน Woker ก่อนแล้วค่อยส่งต่อไปหาผู้ใช้งานครับ เช่น Server ของผู้เขียนที่เป็น wordpress hosting ที่ค่อนข้างช้า

ก่อนใช้ Worker Cache 2.14 วินาที

หลังใช้ Woker Cache 0.31 วินาที (313ms)

*** ข้อควรระวังคือ woker ตัวฟรี มีข้อจำกัดนะครับ สามารถเรียกใช้งานได้เพียงวันละ 100,000 ครั้งเท่านั้น